หัวข้อการประชุม
"Digital Libraries - for Culture Heritage, Knowledge Dissemination, and Future Creation"
การประชุมห้องสมุดดิจิตอลภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกครั้งที่ 13 (ICADL 2011) หัวข้อ "ห้องสมุดดิจิตอล - เพื่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมการเผยแพร่ความรู้และการสร้างอนาคต" ให้การสนับสนุนหลักโดย มูลนิธิวิทยาศาสตร์ธรรมชาติแห่งชาติจีน มุ่งเน้นที่จะให้ความร่วมมือระหว่างประเทศในการพัฒนาศักยภาพและหารือเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ การประชุมนี้ยังส่งผลต่อการประชุมด้านข้อมูลข่าวสารในเอเชียแปซิฟิก (APIS) ซึ่งได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง

16 เมษายน 2554 | เปิดรับเอกสาร |
16 พฤษภาคม 2554 | กำหนดเวลาส่งเอกสาร |
วันที่9 มิถุนายน 2554 | สรุปบทคัดย่อ (เต็มรูปแบบสั้นและโปสเตอร์) |
16 มิถุนายน 2554 | กำหนดเวลายื่นใบจอง (ฉบับเต็ม, สั้นและโปสเตอร์) |
31 พฤษภาคม 2554 | ข้อเสนอแนะการอภิปรายและการประชุมเชิงปฏิบัติการ |
15 กรกฎาคม 2554 | การแจ้งเตือนการตัดสินใจ |
21 กรกฎาคม2554 - 27 กรกฎาคม 2554 | การแจ้งเตือนการตัดสินใจขยายระยะเวลา |
11 สิงหาคม 2554 | เตรียมความพร้อมสำหรับการปะชุม |
วันที่ 24-27 ตุลาคม 2554 | เริ่มการประชุม |

24 ตุลาคม 2554 | 8:00 น | ลงทะเบียน | ||
9:00 น. - 12:00 น | Workshop (เต็มวัน), TUTORIAL 1 ( Coffee Break เวลา: 10:15 น. -10: 45 น.) | |||
12:00 น. 14:00 น | รับประทานอาหารกลางวัน | |||
14.00 น. - 18.00 น | Workshop (เต็มวัน), TUTORIAL 2 และ 3 ( Coffee Break เวลา: 15:15 น. 15:45 น.) |
25 ตุลาคม 2554 | 8:00 น | ลงทะเบียน | ||
8:30 น. - 9:00 น | Lizhu Zhou (Tsinghua University) พิธีเปิด / เปิดนิทรรศการ | |||
9:00am-10:15am | Lizhu Zhou Keynote 1:Dr. Christine L. Borgman ความท้าทายเกี่ยวกับห้องสมุดดิจิตอลสำหรับเอเชีย |
|||
10:15 น. -10: 45 น | พัก | |||
10:45 น. -15.30 น | Dr. Fabio Crestani Keynote 2 : Dr. Xiaolin Zhang การ พัฒนาบริการ MetaKnowledge: กระบวนการถัดไปสำหรับห้องสมุดดิจิตอล |
|||
12:15 น. 14:00 น | รับประทานอาหารกลางวัน | |||
14.00 น. - 15.30 น | ภาคการศึกษาที่ 1: เรื่องการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม (1) | ภาคการศึกษาที่ 2:การทำที่เก็บรวบรวมข้อมูล(1) | ภาคการศึกษาที่ 3: การเผยแพร่ทางอิเล็กทรอนิกส์ | |
15:30 น. 16:00 น | พัก | |||
16.00 น. - 17.30 น | ภาคการศึกษาที่ 4:การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม (2) | ภาคการศึกษาที่ 5:การทำที่เก็บรวบรวมข้อมูล(2) | ภาคการศึกษาที่ 6: การค้นหาและเรียกดูอินเทอร์เฟซสำหรับเนื้อหาดิจิทัลทุกรูปแบบ | |
18:30 น. 21:30 น | ร่วมรับประทานอาหารค่ำ กับคณะกรรมการบริหาร (Shalini Urs) |
26 ตุลาคม 2554 | 9.00 น. - 10.15 น | Chunxiao Xing Keynote 3: Hsinchun Chen สร้างสื่อสังคมออนไลน์ห้องสมุดดิจิทัล: Collection, Management และ Analytics |
||
10:15 น. -10: 45 น | Break | |||
10:45 น. -11:45 น | ภาคการศึกษาที่ 7: ระบบรักษาความปลอดภัยและอัลกอริทึม / บริการส่วนบุคคลและการสร้างแบบจำลองของผู้ใช้ |
ภาคการศึกษาที่ 8: เครือข่ายสังคมและระบบข้อมูล / สื่อสังคม |
ภาคการศึกษาที่ 9: บริการโทรศัพท์มือถือสำหรับ DL / ปัญหาการทำงานร่วมกัน |
|
11:45 น. - 14.00 น | รับประทานอาหารกลางวัน | |||
14.00 น. - 15.00 น | ภาคการศึกษาที่ 10: คอมพิวเตอร์ Cloud และการประยุกต์ใช้ DL |
ภาคการศึกษาที่ 11: |
ภาคการศึกษาที่ 12: แสดงข้อมูล |
|
15:00 น. 16:00 น | เซสชันโปสเตอร์และ พัก | |||
16.00 น. - 17.30 น | ภาคการศึกษาที่ 13: เครื่องมือและระบบโอเพนซอร์ส / สารสนเทศทางการแพทย์ |
ภาคการศึกษาที่ 14: ข้อมูลเมตาและการจัดทำรายการ |
ภาคการศึกษาที่ 15: ข้อมูลเมตาและรายการ / อื่น ๆ |
|
18:30 น. 21:30 น | รับประทานอาหาร ณ.ห้องจัดเลี้ยงอาหารค่ำ |
27 ตุลาคม 2554 | 9.00 น. - 10.15 น | Hsinchun Chen Keynote 4:Edward Y. Chang การ จัดการและเรียกค้นข้อมูลมือถือ |
10:15 น. -10: 45 น | พัก | |
10:45 น. - 12.00 น | Hsinchun Chen (University of Arizona, USA) ประธานพิธีปิดงาน |
|
12.00 น. - 13.00 น | รับประทานอาหารกลางวัน |

เว็บแทงบอลออนไลน์ บริการเกมเดิมพันทุกรูปแบบ ใส่ใจสมาชิกทุกระดับ ไม่มีขั้นต่ำ ฝาก-ถอน สะดวกทุกช่องทาง
เว็บไซต์แทงบอลออนไลน์ เป็นช่องทางเข้าเกมเดิมพันหลากหลายรูปแบบ เช่น เกมเดิมพันกีฬา หรือ เกมเดิมพันคาสิโน โดยเกมเหล่านี้จะแยกออกไปมีให้เลือกเล่นกว่า 100 รายการ ท่านสามารถเลือกเล่นได้ทุกรายการที่ต้องการได้เลย โดยเกมของเราถูกพัฒนาให้ทันสมัยอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้ทันกับยุคสมัย รูปแบบเกมของเราจึงเรียบง่ายและเหมาะสำหรับมือใหม่และมืออาชีพ ขั้นตอนการเล่นง่าย พร้อมกำไรที่ให้สูงที่สุด ทางเว็บไซต์แทงบอลของเรายังมีทีมงานช่วยดูแลสมาชิกทุกท่านอย่างใกล้ชิดตลอดทั้งวัน เพื่อให้แน่ใจว่าท่านจะเล่นเกมโดยไร้ปัญหาและพร้อมตอบคำถามทุกท่านเมื่อสมาชิกสงสัย เล่นแทงบอลออนไลน์ กำไรดีที่สุด สำหรับสมาชิกที่กำลังตามหาช่องทางที่จะทำเงิน …
Read More
Read More

ทำความรู้จักห้องสมุดดิจิตอล
ห้องสมุดดิจิตอล เป็นฐานข้อมูลออนไลนดิจิทัลที่สามารถเก็บ ข้อความ รูปภาพ เสียง วีดีโอ และสื่อต่างๆ สามารถเข้าถึงได้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มันมีหลากหลายขนาดอาจได้รับการดูแลโดยองค์กรอิสระหรือบุคคล เนื้อหาดิจิทัลอาจถูกจัดเก็บไว้ในเครื่องหรือเข้าถึงจากระยะไกลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบการดึงข้อมูลเหล่านี้สามารถช่วยให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันสะดวกมากยิ่งขึ้น ถือเป็นมาตฐานใหม่ของการรับส่งข้อมูล ปัจจุบันนี้เราแบ่งห้องสมุดออกได้เป็น 2 ชนิดได้แก่ 1.ห้องสมุดดิจิตอลของสถาบัน ห้องสมุดวิชาการหลายแห่งมักจะมีส่วนร่วมในการสร้างคลังเก็บหนังสือของสถาบัน เอกสาร วิทยานิพนธ์ และงานอื่นๆ …
Read More
Read More

การประชุมวิชาการห้องสมุดดิจิทัลเอเซียแปซิฟิกระดับนานาชาติ ประจำปี 2557
การประชุมวิชาการเป็นเหตุการณ์ที่สำคัญอย่างมากต่อระบบการศึกษาไทย เพราะการประชุมวิชาการจะทำให้วงการวิชาการตื่นตัวได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องราวที่เกิดขึ้นในแวดวงวิชาการรวมถึงเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาเดินไปในทิศทางเดียวกันจะทำให้การพัฒนาพร้อมกันทั้งองคาพยพ ในระดับมหาวิทยาลัยมีการประชุมวิชาการมากมายทั้งในภาพรวมหรือเฉพาะหน่วยงานในองค์กรอย่างเช่น การประชุมวิชาการห้องสมุด การประชุมวิชาการห้องสมุดดิจิทัล ห้องสมุดเป็นองค์กรสำคัญของมหาวิทยาลัยที่ต้องเจอกับการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด เป็นเพราะว่าตอนนี้ห้องสมุดที่เคยเป็นแหล่งงานวิชาการให้นักศึกษาได้เข้าไปศึกษาค้นคว้า แต่หลังจากแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ได้พัฒนาตัวเองมากขึ้น มีข้อมูลมากขึ้นและเข้าถึงได้ง่ายมากขึ้น ทำให้ห้องสมุดเองก็ต้องปรับตัว จากหนังสือแบบเดิม เข้าสู่ห้องสมุดดิจิทัล การประชุมวิชาการห้องสมุดจะช่วยให้การพัฒนาห้องสมุดของมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งเป็นไปในทิศทางเดียวกัน การประชุมระดับนานาชาติ ห้องสมุดดิจิทัลไม่ได้มีการประชุมกันเพียงแค่ในบรรดาห้องสมุดด้วยกันเท่านั้น ยังมีการประชุมห้องสมุดในระดับที่สูงขึ้นไปด้วย กล่าวคือการประชุมวิชาการห้องสมุดดิจิทัลระดับเอเชียแปซิฟิกระดับนานาชาติ ซึ่งการประชุมครั้งจัดขึ้น ณ โรงแรมอิมพีเรียล …
Read More
Read More

ประเด็นสำคัญการประชุมห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาครั้งที่ 1/2561
ห้องสมุดเป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่สำคัญมากของสถาบันทางวิชาการ หรือ สถาบันทางการศึกษาจะต้องมีห้องสมุดเพื่อเอาไว้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับผู้รับบริการในพื้นที่ของตัวเอง แต่หลังจากโลกของเราเปลี่ยนไปใช้สารสนเทศแบบอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นทำให้ห้องสมุดต้องมีการปรับเปลี่ยนแปลงตัวเองอีกครั้งเพื่อตามโลกให้ทัน จึงเป็นที่มาของการประชุมห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาครั้งที่ 1/2561 มีเรื่องอะไรสำคัญบ้าง การบรรยายพิเศษ หลังจากเปิดพิธีการประชุมแล้ว เรื่องแรกเป็นการบรรยายพิเศษเรื่องการพัฒนาศักยภาพของบรรณารักษ์ในช่วงเปลี่ยนผ่าน โดย ร.ศ.ดร.อมร เพชรสม ผู้อำนวยการสำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเด็นสำคัญของการบรรยายครั้งนี้ก็คือ การเผยแพร่แนวคิดการพัฒนาห้องสมุดแบบที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการพัฒนามาจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี พร้อมทั้งพฤติกรรมผู้บริโภคเองก็เปลี่ยนไปการใช้สารสนเทศไม่เหมือนยุคสมัยเมื่อ 5 …
Read More
Read More

การประชุมเครือข่ายห้องสมุดในกลุ่มเอเชียแปซิฟิกของ OCLC (ภาคทัศนศึกษาห้องสมุด) เจออะไรบ้าง
การประชุมเครือข่ายห้องสมุดในกลุ่มเอเชียแปซิฟิกของ OCLC นั้นผู้เข้ารับการประชุมจะมีกิจกรรมอยู่สองส่วนด้วยกันหนึ่งคือภาควิชาการเราจะได้นั่งฟังเรื่องราวเกี่ยวกับการห้องสมุดในแง่มุมประเด็นต่างๆ ที่สำคัญ อีกส่วนหนึ่งสำคัญไม่แพ้กันก็คือ การได้ไปทัศนศึกษากิจการห้องสมุดของประเทศที่รับหน้าเสื่อเป็นเจ้าภาพไปดูกันว่า เราเจออะไรกันบ้าง ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเจจู ห้องสมุดแห่งแรกเราได้ไปเยี่ยมชมห้องสมุดประจำมหาวิทยาลัยเจจู มหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศเกาหลีใต้ ห้องสมุดแห่งนี้ถูกมอบหมายให้เป็นห้องสมุดประจำเขตพื้นที่เจจูด้วยในคราวเดียวกัน ห้องสมุดแห่งนี้มีการจัดตั้งห้องสมุดใหม่ๆเพิ่มขึ้นอีกเยอะ น่าสนใจต้องที่มีการจัดห้องสมุดพิเศษเฉพาะทางศาสตร์ที่ต้องใช้ความรู้เยอะ อย่างเช่นห้องสมุดทางการแพทย์ หรือห้องสมุดทางกฎหมาย ส่วนระบบการสืบค้นเค้าใช้ระบบเดียวกันกับห้องสมุดเกาหลีทั่วไปนั่นคือ ระบบ SOLARS ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกาหลี ห้องสมุดแห่งที่สองเค้าพาไปทัศนศึกษาเป็นห้องสมุดของมหาวิทยาลัยเกาหลี …
Read More
Read More

ห้องสมุดดิจิทัลอาเซียน เครื่องมือสำคัญนักลงทุน
เราอาจจะเคยได้ผ่านหูผ่านตากับห้องสมุดดิจิตอลระดับโลกกันไปบ้างแล้ว หันกลับมาดูทางฝั่งอาเซียนบ้านเรากันบ้างแนวคิดการสร้างห้องสมุดดิจิทัลระดับอาเซียนนั้นจริงๆ ก็มีเหมือนกัน เพื่อเป็นมรดกทางวัฒนธรรมร่วมของอาเซียน อีกทั้งเป็นเครื่องมือที่จะช่วยส่งเสริมการค้าการลงทุนอีกด้วย ซึ่งจะมีเจ้าภาพก็คือสิงคโปร์ (more…) …
Read More
Read More



